net metering

NET METERING คืออะไร?

NET METERING คือ ระบบหักลบกลบหน่วยไฟฟ้าที่ใช้ตามจริง จากการผลิตไฟฟ้าที่ได้จากโซลาร์เซลล์หักลบกับไฟที่ใช้จากการไฟฟ้า ซึ่งผู้ใช้ไฟจะจ่ายค่าไฟตามจำนวนหน่วยไฟฟ้าที่หักลบกันแล้ว ตัวอย่างการคิดคำนวณ เช่น ปกติใช้ไฟฟ้าอยู่ที่ 5,000 หน่วยต่อเดือน ค่าไฟหน่วยละ 3.99 บาทต่อหน่วย (อัตราค่าไฟไม่เท่ากันตามรอบไตรมาส อ้างอิงจากค่าไฟปัจจุบัน 29/09/23) ดังนั้นจะจ่ายค่าไฟเป็นเงิน 19,950 บาท และติดตั้งโซล่าเซลล์ ช่วยผลิตไฟฟ้าได้ 2,000 หน่วยต่อเดือน  ก็หักลบจากการใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าได้เลย

View More »
ค่า FT คืออะไร

ค่า FT คืออะไร?

ค่า FT คืออะไร? ค่า FT ย่อมาจาก Fuel Adjustment Charge (at the given time)  หรือเรียกว่าค่าไฟฟ้าผันแปร เป็นค่าต้นทุนเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ได้แก่ น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ และอื่นๆ โดยจะปรับเปลี่ยนขึ้นลงตามการเปลี่ยนแปลงของราคาต้นทุนเหล่านี้ รวมถึงค่าซื้อไฟฟ้าจากเอกชน และค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ ซึ่งจะมีการปรับเปลี่ยนทุกๆ

View More »
ค่าไฟแพง

ค่าไฟแพงเกิดจากอะไร?

ค่าไฟแพง : สาเหตุและผลกระทบ สาเหตุของค่าไฟแพง ค่าไฟแพง เกิดได้จากหลายปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1.พฤติกรรมการใช้ไฟที่เพิ่มขึ้น คือหน่วยการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น อาจเกิดได้จากการเปิดเครื่องปรับอากาศมากขึ้นตอนอากาศร้อนจัด หรือการซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่มาเพิ่ม ซึ่งสาเหตุในส่วนนี้เราสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ เช่น เปิด-ปิดเครื่องปรับอากาศให้เป็นเวลา 2.เครื่องใช้ไฟฟ้าชำรุดหรือเสียหาย อาจจะต้องลองสังเกตจากเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านที่ใช้บ่อยๆ ซึ่งอาจชำรุดหรือเสียหายได้ เช่น เครื่องปรับอากาศ โทรทัศน์ เครื่องซักผ้า ตู้เย็น  3.แหล่งพลังงานหลักในการผลิตราคาสูงขึ้น ปัจจุบันไฟฟ้าในประเทศไทยส่วนใหญ่ผลิตจากการใช้พลังงานฟอสซิล ถ่านหิน

View More »
พลังงานแสงอาทิตย์ 33% 1

พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ จะผลิตไฟฟ้าได้ 33% ของพลังงานทั้งหมดทั่วโลกภายในปี 2573

เมื่อผลิตไฟฟ้าพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์เพิ่มขึ้น ราคาพลังงานจะลดลง รายงานของสถาบันร๊อคกี้เมาน์เทน (RMI) กล่าวเมื่อวันพฤหัสที่ผ่านมาว่าโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานลมและโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กำลังอยู่ในขั้นตอนการผลิตไฟฟ้ามากกว่า 1 ใน 3 ของโลก ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นสัญญาณของการบรรลุข้อตกลงมุ่งสู่ net zero เมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมา สุลต่าน อัลจาเบอร์ ประธานการประชุมสุดยอดด้านสภาพอากาศครั้งต่อไปของสหประชาชาติ (COP28) เรียกร้องให้มีการผลิตพลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 3 เท่าภายในปี 2573 เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและช่วยให้บรรลุเป้าหมาย

View More »
ติดตั้งโซล่าเซลล์ช่วยคลื่นความร้อนสูง

คลื่นความร้อนสูง สร้างแรงกดดันต่อผู้ให้บริการจ่ายไฟฟ้าทั่วโลก

คลื่นความร้อนสูงสร้างแรงกดดันต่อผู้ให้บริการจ่ายไฟฟ้าทั่วโลก ตั้งแต่อเมริกาเหนือไปจนถึงเอเชีย ผู้ให้บริการจ่ายไฟฟ้า (เช่น การไฟฟ้าหรือโรงงานไฟฟ้า) กำลังเผชิญกับความท้าทายในการทำให้ประชาชนเย็นลง ท่ามกลางคลื่นความร้อนที่พุ่งสูงทั่วโลก เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทำให้ความต้องการใช้เครื่องปรับอากาศสูงสุด แต่นั่นก็เป็นการสร้างแรงกดดันให้กับผู้บริการจ่ายกระแสไฟฟ้า หากไฟฟ้าดับเนื่องจากมีไฟฟ้าไม่เพียงพอ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดที่ผู้ให้บริการทั่วโลกกำลังหาวิธีป้องกัน วันนี้ประชาชนกว่า 28.8 ล้านคนได้รับการแต้งเตือนให้ช่วยกันประหยัดไฟแบบไม่บังคับ ระหว่างวันที่ 15-21 มิถุนายน จากการไฟฟ้าเท็กซัส ภายหลังจากความต้องการใช้ไฟฟ้าพุ่งสูงขึ้นเนื่องจากอุณหภูมิแตะ 110 องศาฟาเรนไฮต์ หรือกว่า 43 องศาเซลเซียส

View More »
แผง Tier 1 ใช่มาตรฐานแผงโซลาร์เซลล์หรือไม่

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับแผงโซลาร์เซล์ Tier 1

แผง Tier 1 คืออะไร? ใช่มาตรฐานของแผงโซลาร์เซลล์หรือไม่? หลายคนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับแผง Tier 1 วันนี้ Solar PPM ขอมาไขข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของแผงโซลาร์Tier 1 กัน 1.แผงโซลาร์เซลล์ Tier 1 ไม่มีอยู่จริง เฉพาะผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ Tier 1 เท่านั้นที่มีอยู่จริง ตามรายงานของ Bloomberg New

View More »
ติดตั้งโซลาร์เซลล์คุ้มค่าเงินลงทุนมั้ย

ติดตั้งโซลาร์เซลล์คุ้มค่ากับเงินลงทุนมั้ย?

หลายคนมีความสงสัยว่าติดตั้งโซล่าเซลล์แล้วจะคุ้มค่าหรือไม่ แล้วจะคิดยังไงว่าคุ้มหรือไม่คุ้ม วันนี้ Solar PPM มีวิธีการคำนวณจุดคุ้มทุนโซล่าเซลล์คร่าวๆมาแนะนำกันค่ะ วิธีคำนวณจุดคุ้มทุนในการติดตั้งโซลาร์เซลล์ มีวิธีคิดดังต่อไปนี้ 1.คำนวณขนาดการติดตั้งโซลาร์เซลล์จากการใช้ไฟฟ้าทั้งหมด* (แต่ละธุรกิจโรงงาน จะมีขนาดการติดตั้งโซลาร์เซลล์ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้ไฟฟ้า ชั่วโมงการทำงาน และอื่นๆประกอบ ซึ่งเจ้าหน้าที่ของ Solar PPM สามารถให้คำแนะนำได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย) โดยขอยกตัวอย่างการติดตั้งโซลาร์เซลล์ขนาด 300 kWp ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 300,000W 2.คำนวณค่าใช้จ่ายหรือมูลค่าการลงทุนติดตั้งโซลาร์เซลล์*

View More »
รัฐบาลทั่วโลกผลักดันการลงทุนพลังงานสะอาด

รัฐบาลทั่วโลกผลักดันหารลงทุนด้านพลังงานสะอาด ท่ามกลางวิกฤตพลังงานโลก

จำนวนเงินที่รัฐบาลจัดสรรไว้สำหรับการลงทุนด้านพลังงานสะอาด (เช่น โซล่าเซลล์) เป็นจำนวนเงินเพิ่มขึ้นกว่า 1.34 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตั้งแต่ ปี 2020 ตามการอัปเดตล่าสุดของ Government Energy Spending Tracker ของ IEA มีการประกาศการใช้จ่ายสำหรับลงทุนด้านพลังงานสะอาดในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา 130,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งถือเป็นช่วงที่มีการชะลอตัวมากที่สุดนับตั้งแต่ปี 2020 แต่เป็นเพียงการชะลอตัวชั่วคราว เนื่องจากมีการพิจารณานโยบายเพิ่มเติมจากหลายประเทศ

View More »
ทำไมโซลาร์ฟาร์มในโคโซโวจึงเลี้ยงแกะ

ทำไมโซลาร์ฟาร์มในโคโซโวจึงนำแกะมาเลี้ยง?

เราทุกคนล้วนได้ผลประโยชน์ : เหตุใดฟาร์มพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์ฟาร์ม) ในโคโซโว จึงนำแกะมาเลี้ยง? ฟาร์มพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์ฟาร์ม) ในโคโซโวได้นำเครื่องจักรพลังงานสะอาดเข้ามาเพื่อตัดหญ้า นั่นคือฝูงแกะ คนงานในฟาร์มโซลาร์เซลล์ Rogane ใกล้กับเมืองเล็กๆ Kamenica เมืองทางตะวันออกของโคโซโวรู้สึกเหน็ดเหนื่อยกับการสิ้นเปลืองพลังงานของตนเองเพื่อดูแลพื้นที่ให้สวยงาม Rexhep Rrudhani คนเลี้ยงแกะวัย 72 ปี กล่าวว่า “คนงานรู้ว่าการตัดหญ้าในทุ่งนั้นยากมาก พวกเค้าจึงถามว่าเอาแกะของพวกเค้าไปด้วยได้ไหม?”  ขณะที่เขาสั่งให้สุนัขเลี้ยงแกะของเค้าบังคับฝูงแกะที่เล็มหญ้าใต้แผง “แกะกินหญ้าทุกชนิด

View More »
การลงทุนพลังงานสะอาดคิดเป็น 2 เท่าของพลังงานฟอสซิล

ทำไมการลงทุนด้านพลังงานสะอาดถึงคิดเป็นเกือบ 2 เท่าของพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล

การลงทุนในเทคโนโลยีพลังงานสะอาดทั่วโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 1.7 ล้านล้านดอลลาร์ในปี 2566 ขณะที่การลงทุนในเทคโนโลยีพลังงานฟอสซิลมีประมาณ 1 ล้านล้านดอลลาร์ ตามรายงาน “World Energy Investment 2023” ของ IEA IEA นิยามเทคโนโลยีสะอาดว่าเป็นพลังงานทดแทน รถยนต์ไฟฟ้า ,พลังงานแสงอาทิตย์ (โซล่าเซลล์),  พลังงานนิวเคลียร์, กริดไฟฟ้า, การกักเก็บพลังงาน,เชื้อเพลิงที่ปล่อยมลพิษต่ำ (Low emissions

View More »
STRING INVERTER VS MICRO INVERTER

ความแตกต่างของ Micro Inverter vs String Inverter

Micro Inverter vs String Inverter ต่างกันอย่างไร? Micro Inverter (ไมโคร อินเวอร์เตอร์) Micro Inverter คืออินเวอร์เตอร์ที่มีการแยกทำงานเป็นรายแผง และติดตั้งไว้ใต้แผงโซลาร์เซลล์ ข้อดี -ใช้แรงดันไฟฟ้าต่ำ ทั้งระบบประมาณ 40 VDC ทำให้ไม่เสี่ยงไฟดูด ไฟไฟม้ หรือไฟลัดวงจร -ได้มาตรฐาน IP67 สามารถกันฝุ่นได้

View More »
CCS อาจทำให้ค่าไฟฟ้าสูงขึ้น

เทคโนโลยีดักจับคาร์บอน (CCS) อาจทำให้ค่าไฟฟ้าผู้บริโภคพุ่งสูงขึ้น

บริษัทโรงไฟฟ้าฟอสซิลคิดว่าจะสามารถทำโรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ มีความสะอาด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ด้วยเทคโนโลยีดักจับคาร์บอน จาก Optimism bias (คิดไปเองว่าจะดี) แต่ผลกระทบค่าใช้จ่ายอาจตกอยู่ที่ผู้บริโภคมากขึ้นเช่นกัน บริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิลมีความกระตือรือร้นที่จะใช้เทคโนโลยีกรองก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้โลกร้อนจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่การพึ่งพาเทคโนโลยีที่เรียกว่าการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS) ถือเป็นความเสี่ยงที่ผู้บริโภคมีแนวโน้มจะแบกรับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น โดยค่าไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าที่ติดตั้งอุปกรณ์ดักจับคาร์บอนมีราคาแพงกว่าโรงไฟฟ้าทางเลือกอื่นๆ 1.5-2 เท่า ตามรายงานฉบับใหม่จากสถาบันไม่แสวงหาผลกำไรเพื่อการวิเคราะห์เศรษฐกิจพลังงานและการเงิน (IEEFA) การหันไปใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมนั้นถูกกว่ามาก กรณีทางเศรษฐกิจสำหรับ CCS ในภาคธุรกิจพลังงานนั้นอ่อนแอ

View More »